Archaeology

Taxonomy

Code

Scope note(s)

Source note(s)

Display note(s)

Hierarchical terms

Archaeology

Equivalent terms

Archaeology

Associated terms

Archaeology

14 Archival description results for Archaeology

14 results directly related Exclude narrower terms

อดีตรับใช้ปัจจุบัน จีนคอมมิวนิสต์มองวิชาโบราณคดีอย่างไร

ชาวจีนในปัจจุบันไม่สนใจประวัติศาสตร์ดังแต่ก่อน และหันมาสนใจกับอนาคตมากกว่า แต่ชาวจีนยังคงหวังให้อดีตรับใช้ปัจจุบัน อย่างไรก็ดี นักวิชาการทั้งรุ่นเก่าและใหม่ในวงวิชาการด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์วัฒนธรรมยังคงสนใจศึกษาเรื่องราวประวัติศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ จากการศึกษาบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารด้านโบราณคดีของจีนที่คัดเลือก 3 ชื่อ แสดงให้เห็นว่า บทความส่วนใหญ่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของจีนสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่15 และข้อเขียนในวารสารทั้ง 3 ฉบับส่วนใหญ่ แสดงให้เห็นความพยายามที่จะตีความประวัติศาสตร์จากหลักฐานโบราณวัตถุและจารึกที่ได้ขุดค้นพบ.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

บันทึกย่อประวัติทั่วไปของศิลปะด้านอินเดียและตะวันออกไกล [ตอนที่ 14]

ช่วงต้นของบทความกล่าวถึงสถาปัตยกรรมจีนและญี่ปุ่นไปพร้อมกัน โดยเน้นศิลปะญี่ปุ่นมากกว่าเพราะหลงเหลือตัวอย่างมากกว่า เช่น ศาลเจ้าที่มักสร้างขึ้นเลียนแบบของโบราณ วัดโฮริวจิ และศาลาฟินิกซ์ที่เบียวโดอิน
ช่วงท้ายของบทความกล่าวถึงศิลปะเอเชียกลาง ที่ได้รับอิทธิพลคันธาระผสมผสานกับศิลปะจีน ตะวันตกและอิหร่าน มีการยกตัวอย่างจิตรกรรมที่มิราน กิซีล ดันดันอุยลิค เป็นต้น.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

บันทึกย่อประวัติทั่วไปของศิลปะด้านอินเดียและตะวันออกไกล [ตอนที่ 13]

ช่วงต้นของบทความกล่าวถึงจิตรกรรมสมัยราชวงศ์ซึ่งมีความเป็นธรรมชาตินิยม นิยมเขียนภาพทิวทัศน์และพันธุ์พืช มีการยกตัวอย่างชิ้นงานพร้อมกับชื่อจิตรกรคนสำคัญ ช่วงท้ายของบทความกล่าวถึงศิลปะญี่ปุ่น ทั้งระฆังสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมเล่าเรื่องนิทานพื้นเมือง (ยามาโตเอะ) และหน้ากากสำหรับละครโนะ ท้ายสุดกล่าวถึงภาพพิมพ์ในระยะหลัง.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

บันทึกย่อประวัติทั่วไปของศิลปะด้านอินเดียและตะวันออกไกล [ตอนที่ 12]

ช่วงต้นของบทความกล่าวถึงพุทธประติมากรรมและจิตรกรรมในศิลปะจีนสมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งได้รับอิทธิพลอินเดียและส่งอิทธิพลไปถึงศิลปะญี่ปุ่น ในช่วงกลางกล่าวถึงศิลปะญี่ปุ่นทั้งประติมากรรมและจิตรกรรม เช่นที่วัดโฮริวจิ ในช่วงท้ายของบทความพูดถึงศิลปะสมัยราชวงศ์ซ่งซึ่งจิตรกรรมโดดเด่นกว่าประติมากรรม.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

บันทึกย่อประวัติทั่วไปของศิลปะด้านอินเดียและตะวันออกไกล [ตอนที่ 11]

ประติมากรรมในศิลปะสมัยราชวงศ์เว่ย (เว้) สมัยราชวงศ์เหลียง และสมัยราชวงศ์สุย ทั้งรูปสิงห์ พระพุทธรูปและพระโพธิสัตว์ ช่วงท้ายของบทความกล่าวถึงอิทธิพลพุทธศิลป์จีนต่อศิลปะญี่ปุ่นระยะต้น รวมถึงกล่าวถึงศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ถังด้วย.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

บันทึกย่อประวัติทั่วไปของศิลปะด้านอินเดียและตะวันออกไกล [ตอนที่ 10]

ช่วงต้นของบทความให้ข้อมูลสังเขปศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ฮั่น ซึ่งปรากฏเครื่องสัมฤทธิ์และประติมากรรมสลักหิน ในช่วงท้ายของบทความกล่าวถึงจิตรกรรมภาพม้วนในสมัยราชวงศ์เว่ย (เว้).

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิชาโบราณคดีจีน [ตอนที่ 7]

โบราณคดีจีนสมัยหินเก่าจนถึงสมัยหินใหม่ (600,000 ปี มาแล้ว – 3,500 ปี ก่อนพุทธกาล) ได้ค้นพบมนุษย์ลันเถียร มนุษย์วานรที่เก่าที่สุดมีชีวิตราว 500,000 ปี มาแล้ว วัฒนธรรมแบบยางเชา (Yang-chao) วัฒนธรรมแบบซิงเหลียนกัง และวัฒนธรรมแบบลองชาน อยู่ในปลายสมัยหินใหม่ในประเทศจีน ราชวงศ์ส่างเป็นราชวงศ์ที่เริ่มใช้สัมฤทธิ์และตัวอักษรนับว่าเริ่มเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ของจีนอย่างแท้จริง ซึ่งมีการค้นพบโบราณวัตถุสถานจำนวนมาก การค้นพบบ่อน้ำที่เก่าที่สุดแสดงให้เห็นว่าราชวงศ์จิวภาคตะวันตกเป็นผู้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในทิศตะวันออกไกล นอกจากนั้นยังพบภาชนะสัมฤทธิ์ ภาชนะดินเผา และเริ่มมีระฆังจีน สมัยเลียดก๊กเป็นสมัยที่ความรู้ทางปัญญาเจริญรุ่งเรืองขึ้น มีการค้นพบซากโรงหล่อโลหะ แม่พิมพ์สำหรับหล่ออาวุธ เครื่องรัก การฝังเงินฝังทองลงไปในโลหะ สร้างกำแพงเมืองจีน และกำหนดมาตราชั่งตวงวัดใหม่ ส่วนการใช้หนังสือเดินทางพบในสมัยราชวงศ์จิ๋น สมัยราชวงศ์ฮั่นเริ่มมีการสอบจอหงวน ทางเดินของสินค้าไหมกลายเป็นแกนแห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศจีนกับเมืองอันติโอคุสบนฝั่งทะเลเมติเตอร์เรเนียน ระบบชลประทานดีขึ้น มีการใช้เหล็กกันทั่วไป สมัยราชวงศ์ซินในระยะนี้ พุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในประเทศจีน เริ่มมีกระเบื้องถ้วย (porcelain) สมัยราชวงศ์ถังมีการบรรจุ มิงคีหรือประติมากรรมที่เกี่ยวกับการศพนับร้อยจนกระทั่งต้องออกกฎหมายกำหนดการใช้มิงคี พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยราชวงศ์ถัง สำหรับเครื่องกระเบื้องถ้วยเจริญถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ซ้อง.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิชาโบราณคดีจีน [ตอนที่ 6]

โบราณคดีจีนสมัยหินเก่าจนถึงสมัยหินใหม่ (600,000 ปี มาแล้ว – 3,500 ปี ก่อนพุทธกาล) ได้ค้นพบมนุษย์ลันเถียร มนุษย์วานรที่เก่าที่สุดมีชีวิตราว 500,000 ปี มาแล้ว วัฒนธรรมแบบยางเชา (Yang-chao) วัฒนธรรมแบบซิงเหลียนกัง และวัฒนธรรมแบบลองชาน อยู่ในปลายสมัยหินใหม่ในประเทศจีน ราชวงศ์ส่างเป็นราชวงศ์ที่เริ่มใช้สัมฤทธิ์และตัวอักษรนับว่าเริ่มเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ของจีนอย่างแท้จริง ซึ่งมีการค้นพบโบราณวัตถุสถานจำนวนมาก การค้นพบบ่อน้ำที่เก่าที่สุดแสดงให้เห็นว่าราชวงศ์จิวภาคตะวันตกเป็นผู้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในทิศตะวันออกไกล นอกจากนั้นยังพบภาชนะสัมฤทธิ์ ภาชนะดินเผา และเริ่มมีระฆังจีน สมัยเลียดก๊กเป็นสมัยที่ความรู้ทางปัญญาเจริญรุ่งเรืองขึ้น มีการค้นพบซากโรงหล่อโลหะ แม่พิมพ์สำหรับหล่ออาวุธ เครื่องรัก การฝังเงินฝังทองลงไปในโลหะ สร้างกำแพงเมืองจีน และกำหนดมาตราชั่งตวงวัดใหม่ ส่วนการใช้หนังสือเดินทางพบในสมัยราชวงศ์จิ๋น สมัยราชวงศ์ฮั่นเริ่มมีการสอบจอหงวน ทางเดินของสินค้าไหมกลายเป็นแกนแห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศจีนกับเมืองอันติโอคุสบนฝั่งทะเลเมติเตอร์เรเนียน ระบบชลประทานดีขึ้น มีการใช้เหล็กกันทั่วไป สมัยราชวงศ์ซินในระยะนี้ พุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในประเทศจีน เริ่มมีกระเบื้องถ้วย (porcelain) สมัยราชวงศ์ถังมีการบรรจุ มิงคีหรือประติมากรรมที่เกี่ยวกับการศพนับร้อยจนกระทั่งต้องออกกฎหมายกำหนดการใช้มิงคี พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยราชวงศ์ถัง สำหรับเครื่องกระเบื้องถ้วยเจริญถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ซ้อง.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิชาโบราณคดีจีน [ตอนที่ 5]

โบราณคดีจีนสมัยหินเก่าจนถึงสมัยหินใหม่ (600,000 ปี มาแล้ว – 3,500 ปี ก่อนพุทธกาล) ได้ค้นพบมนุษย์ลันเถียร มนุษย์วานรที่เก่าที่สุดมีชีวิตราว 500,000 ปี มาแล้ว วัฒนธรรมแบบยางเชา (Yang-chao) วัฒนธรรมแบบซิงเหลียนกัง และวัฒนธรรมแบบลองชาน อยู่ในปลายสมัยหินใหม่ในประเทศจีน ราชวงศ์ส่างเป็นราชวงศ์ที่เริ่มใช้สัมฤทธิ์และตัวอักษรนับว่าเริ่มเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ของจีนอย่างแท้จริง ซึ่งมีการค้นพบโบราณวัตถุสถานจำนวนมาก การค้นพบบ่อน้ำที่เก่าที่สุดแสดงให้เห็นว่าราชวงศ์จิวภาคตะวันตกเป็นผู้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในทิศตะวันออกไกล นอกจากนั้นยังพบภาชนะสัมฤทธิ์ ภาชนะดินเผา และเริ่มมีระฆังจีน สมัยเลียดก๊กเป็นสมัยที่ความรู้ทางปัญญาเจริญรุ่งเรืองขึ้น มีการค้นพบซากโรงหล่อโลหะ แม่พิมพ์สำหรับหล่ออาวุธ เครื่องรัก การฝังเงินฝังทองลงไปในโลหะ สร้างกำแพงเมืองจีน และกำหนดมาตราชั่งตวงวัดใหม่ ส่วนการใช้หนังสือเดินทางพบในสมัยราชวงศ์จิ๋น สมัยราชวงศ์ฮั่นเริ่มมีการสอบจอหงวน ทางเดินของสินค้าไหมกลายเป็นแกนแห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศจีนกับเมืองอันติโอคุสบนฝั่งทะเลเมติเตอร์เรเนียน ระบบชลประทานดีขึ้น มีการใช้เหล็กกันทั่วไป สมัยราชวงศ์ซินในระยะนี้ พุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในประเทศจีน เริ่มมีกระเบื้องถ้วย (porcelain) สมัยราชวงศ์ถังมีการบรรจุ มิงคีหรือประติมากรรมที่เกี่ยวกับการศพนับร้อยจนกระทั่งต้องออกกฎหมายกำหนดการใช้มิงคี พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยราชวงศ์ถัง สำหรับเครื่องกระเบื้องถ้วยเจริญถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ซ้อง.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิชาโบราณคดีจีน [ตอนที่ 4]

โบราณคดีจีนสมัยหินเก่าจนถึงสมัยหินใหม่ (600,000 ปี มาแล้ว – 3,500 ปี ก่อนพุทธกาล) ได้ค้นพบมนุษย์ลันเถียร มนุษย์วานรที่เก่าที่สุดมีชีวิตราว 500,000 ปี มาแล้ว วัฒนธรรมแบบยางเชา (Yang-chao) วัฒนธรรมแบบซิงเหลียนกัง และวัฒนธรรมแบบลองชาน อยู่ในปลายสมัยหินใหม่ในประเทศจีน ราชวงศ์ส่างเป็นราชวงศ์ที่เริ่มใช้สัมฤทธิ์และตัวอักษรนับว่า เริ่มเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ของจีนอย่างแท้จริง ซึ่งมีการค้นพบโบราณวัตถุสถานจำนวนมาก การค้นพบบ่อน้ำที่เก่าที่สุดแสดงให้เห็นว่าราชวงศ์จิวภาคตะวันตกเป็นผู้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในทิศตะวันออกไกล นอกจากนั้นยังพบภาชนะสัมฤทธิ์ ภาชนะดินเผา และเริ่มมีระฆังจีน สมัยเลียดก๊กเป็นสมัยที่ความรู้ทางปัญญาเจริญรุ่งเรืองขึ้น มีการค้นพบซากโรงหล่อโลหะ แม่พิมพ์สำหรับหล่ออาวุธ เครื่องรัก การฝังเงินฝังทองลงไปในโลหะ สร้างกำแพงเมืองจีน และกำหนดมาตราชั่งตวงวัดใหม่ ส่วนการใช้หนังสือเดินทางพบในสมัยราชวงศ์จิ๋น สมัยราชวงศ์ฮั่นเริ่มมีการสอบจอหงวน ทางเดินของสินค้าไหมกลายเป็นแกนแห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศจีนกับเมืองอันติโอคุสบนฝั่งทะเลเมติเตอร์เรเนียน ระบบชลประทานดีขึ้น มีการใช้เหล็กกันทั่วไป สมัยราชวงศ์ซินในระยะนี้ พุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในประเทศจีน เริ่มมีกระเบื้องถ้วย (porcelain) สมัยราชวงศ์ถังมีการบรรจุ มิงคีหรือประติมากรรมที่เกี่ยวกับการศพนับร้อยจนกระทั่งต้องออกกฎหมายกำหนดการใช้มิงคี พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยราชวงศ์ถัง สำหรับเครื่องกระเบื้องถ้วยเจริญถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ซ้อง.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Results 1 to 10 of 14