History

Taxonomy

Code

Scope note(s)

Source note(s)

Display note(s)

Hierarchical terms

History

Equivalent terms

History

Associated terms

History

86 Archival description results for History

86 results directly related Exclude narrower terms

พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร [ตอนที่ 2]

ผู้เขียนเรียบเรียงจากหนังสือเรื่องพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ของ มาเรีย-เธแรส เดอ มัลมาน (Marie-Therese de Mallmann) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในประเทศอินเดียเท่านั้น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทรงมีลักษณะเป็นเจ้าแห่งจักรวาล ทรงเป็นเทพเจ้าที่สูงกว่าเทพเจ้าทั้งหมดและสูงกว่าพระพุทธเจ้าด้วย พระนามของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เริ่มปรากฎมีขึ้นในคัมภีร์ราวพุทธศตวรรษที่ 6-8 รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในระหว่าง พ.ศ. 700-750 รูปหนึ่งอยู่ในศิลปคันธาระซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากศิลปกรีก-โรมัน และอีกรูปหนึ่งอยู่ในศิลปของราชวงศ์กุษาณะที่เมืองมถุรา รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทุกองค์ในศิลปสมัยคุปตะ และหลังคุปตะในแคว้นมหาราษฎร์และดินแดนใกล้เคียง มักมีลักษณะเกือบคงที่ตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 11-13 คือ ทรงเครื่องแต่งองค์อย่างเรียบ ๆ เกศาเกล้าเป็นชฎามงกุฎไม่มีเครื่องประดับ เครื่องอาภรณ์มีน้อย แต่ประติมาณวิทยาทางภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 10 เริ่มทรงเครื่องอาภรณ์แล้ว มีการศึกษารูปต่าง ๆ ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ตั้งแต่พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 6 กร ในสมัยแรกของศิลปปาละ-เสนะ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กร ซึ่งปรากฏขึ้นบ่อย ๆ ตั้งแต่สมัยเสื่อมชั่วคราวจนถึงสมัยฟื้นฟู และพระโพธิสัตว์ 2 กร ซึ่งมีอยู่ตลอดระยะเวลาของศิลปปาละ-เสนะ รวมทั้งพระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร 12 กร และ 16 กร.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร [ตอนที่ 3]

ผู้เขียนเรียบเรียงจากหนังสือเรื่องพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ของ มาเรีย-เธแรส เดอ มัลมาน (Marie-Therese de Mallmann) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในประเทศอินเดียเท่านั้น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทรงมีลักษณะเป็นเจ้าแห่งจักรวาล ทรงเป็นเทพเจ้าที่สูงกว่าเทพเจ้าทั้งหมดและสูงกว่าพระพุทธเจ้าด้วย พระนามของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เริ่มปรากฎมีขึ้นในคัมภีร์ราวพุทธศตวรรษที่ 6-8 รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในระหว่าง พ.ศ. 700-750 รูปหนึ่งอยู่ในศิลปคันธาระซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากศิลปกรีก-โรมัน และอีกรูปหนึ่งอยู่ในศิลปของราชวงศ์กุษาณะที่เมืองมถุรา รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทุกองค์ในศิลปสมัยคุปตะ และหลังคุปตะในแคว้นมหาราษฎร์และดินแดนใกล้เคียง มักมีลักษณะเกือบคงที่ตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 11-13 คือ ทรงเครื่องแต่งองค์อย่างเรียบ ๆ เกศาเกล้าเป็นชฎามงกุฎไม่มีเครื่องประดับ เครื่องอาภรณ์มีน้อย แต่ประติมาณวิทยาทางภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 10 เริ่มทรงเครื่องอาภรณ์แล้ว มีการศึกษารูปต่าง ๆ ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ตั้งแต่พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 6 กร ในสมัยแรกของศิลปปาละ-เสนะ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กร ซึ่งปรากฏขึ้นบ่อย ๆ ตั้งแต่สมัยเสื่อมชั่วคราวจนถึงสมัยฟื้นฟู และพระโพธิสัตว์ 2 กร ซึ่งมีอยู่ตลอดระยะเวลาของศิลปปาละ-เสนะ รวมทั้งพระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร 12 กร และ 16 กร.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร [ตอนที่ 4]

ผู้เขียนเรียบเรียงจากหนังสือเรื่องพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ของ มาเรีย-เธแรส เดอ มัลมาน (Marie-Therese de Mallmann) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในประเทศอินเดียเท่านั้น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทรงมีลักษณะเป็นเจ้าแห่งจักรวาล ทรงเป็นเทพเจ้าที่สูงกว่าเทพเจ้าทั้งหมดและสูงกว่าพระพุทธเจ้าด้วย พระนามของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เริ่มปรากฎมีขึ้นในคัมภีร์ราวพุทธศตวรรษที่ 6-8 รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในระหว่าง พ.ศ. 700-750 รูปหนึ่งอยู่ในศิลปคันธาระซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากศิลปกรีก-โรมัน และอีกรูปหนึ่งอยู่ในศิลปของราชวงศ์กุษาณะที่เมืองมถุรา รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทุกองค์ในศิลปสมัยคุปตะ และหลังคุปตะในแคว้นมหาราษฎร์และดินแดนใกล้เคียง มักมีลักษณะเกือบคงที่ตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 11-13 คือ ทรงเครื่องแต่งองค์อย่างเรียบ ๆ เกศาเกล้าเป็นชฎามงกุฎไม่มีเครื่องประดับ เครื่องอาภรณ์มีน้อย แต่ประติมาณวิทยาทางภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 10 เริ่มทรงเครื่องอาภรณ์แล้ว มีการศึกษารูปต่าง ๆ ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ตั้งแต่พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 6 กร ในสมัยแรกของศิลปปาละ-เสนะ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กร ซึ่งปรากฏขึ้นบ่อย ๆ ตั้งแต่สมัยเสื่อมชั่วคราวจนถึงสมัยฟื้นฟู และพระโพธิสัตว์ 2 กร ซึ่งมีอยู่ตลอดระยะเวลาของศิลปปาละ-เสนะ รวมทั้งพระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร 12 กร และ 16 กร.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

A dated crowned Buddha image from Thailand

In the exhibition entitled "The Arts of Thailand", which recently completed a tour of the United States and which will later be seen in Europe, there's a bronze image of the standing Buddha wearing the crown of royalty. The image which is 1.87 m. high and belongs to the Monastery of the Fifth King (Pencamapabitra), Bangkok, is of unknown provenance; and until recently its date was a matter of doubt. Though crowned Buddhas are rare in Sukhothai art, it is clearly a work of that school. We can be sure from the face, the suave modeling, and especially the ‘hallmark’ in the form of the little hooks at the lower coners of the robe. The figure ought to be dated in the 15th century, a time when Sukhothai had already lost its political independence (to Ayutthaya), but not its artistic inspiration.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The Difference Between Valmiki’s Ramayana and the Thai Version of Ramayana (Ramakirti) of King Rama I of Thailand (1782-1809)

The story of the Ramayana has been very popular in Thailand; there are many versions of the story. It is pronounced in Thai as Ramakian, which probably derives from the word Ramakirti in Sanskrit. The word Rama existed already during the Sukhothai period (about 1250-1450 AD). The story of the Ramayana was referred to several times in Thai literature during the Ayutthaya period (1350-1767 AD) but the extant manuscripts for dance drama exist only from the Thonburi period (1767-1782 AD).

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The historical development of South East Asian arts

By the word 'South East Asia', we would like to limit ourselves only to those countries that had received strong Indian cultural influence in the past, namely: Champa in the present day Vietnam, Cambodia, Laos, Thailand, Burma, Malaysia and Indonesia.
South East Asia lies between India and China and her civilization received the impetus from these two large countries. the main land of South East Asia or the peninsula of Indochina extends from China down to the south. though there are mountain chains which are difficult to cross, the large rivers on the peninsula have always been used as the means of communication: the Red River, the Mekong, the Chao Phaya River, the Salween and the Irrawaddy. Indonesia was probably connected in former times with Indochina.
The knowledge on the development and interchanges of these arts in South East Asia can be further improved through the proper archaeological excavation in each country and the study of the evolution of motifs.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The Lord Buddha Protected by the Naga in the Attitude of Subduing Mara

A bronze Buddha image, protected by the Naga in the attitude of subduing Mara, is displayed in the Bangkok National Museum, Thailand. Seated on the coils of the Naga, 1.65 m. high, it was found at Wat Wieng (Wieng Temple), Chaiya, in the province of Suratthani, southern Thailand. This beautiful bronze image belongs to the Srivijayan style. On its base an inscription informs it was cast either at about the end of the 12th of 13th century A.D.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The New National Museum at the Town of Ubon Ratchathani, Northeastern, Thailand

The Thai Fine Arts Department has created a national museum in the town of Ubon Ratchathani, Northeastern Thailand. The collection of the museum contains objects, mostly of local origin.
The museum contains six rooms. The first room is the Geography-Geology room of Ubon Ratchathani Province which shows the maps, mineral resources and gems of the province. The second room is the prehistoric room, displaying implements and pottery found in Ubon province. The third room "Dvaravati room", displaying objects pertaining to the Dvaravati period or those from contemporary epochs. The fourth room "Khmer room", displaying Khmer objects. The fifth room contains Buddha images created by Ubon Ratchathani craftsman. The sixth room displays local tradition and objects.
Though this museum is rather small, it is worthwhile visiting because of the many interesting objects displayed in an orderly manner.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Pierre Dupont : l'archeologie mone de Dvaravati : a review

The late Professor Dupont's great book has been warmly welcomed not only by specialists in Southeast Asian art and archaeology throughout the world , but also by many members of the general public in Thailand, among whom the interest in archaeology is steadily growing.
The book is dedicated by the author to his distinguished teacher, Alfred Foucher. A note by Madame Dupont thanks whose who helped to prepare the work for publication after her husband's death. Then, after a short preface by the author, comes the text itself, consisting of 9 chapters (almost 300 pages). Finally there are inventories of the objects discovered in the excavations of Davaravati sites conducted by the author; indexes; bibliography; etc. There are 24 pages of drawings, plans and maps, and 541 photographs. He ends with a briefer summary of the enduring influence of certain other types of Dvaravti image, and of Dvaravati architecture associated with the Theravada.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Prasat Kamphaeng Yai in Northeastern Thailand

Prasat Kamphaeng Yai is situated in Amphoe Utumphorn Phisai in the province of Sisaket, northeastern Thailand. It is a Khmer monument. According to one inscription on a doorjamb of an eastern gopara (gate) of the eastern gallery surrounding the monument, it was founded in Hinduism.The inscription is composed of about 35 lines in Khmer language which reports the purchase of pieces of land in 1042 A.D. by Vra Kamraten An Sivadasa and three other dignitaries. These pieces of land were marked and dedicated to the sanctuary of Vrddhesvara (Siva). After listing the names of the slaves dedicated to the sanctuary, the text enumerates the animals and objects given to the former owners, by those who bought the land.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Results 51 to 60 of 86