The Sculpture of Thailand
Add to clipboard
TH Subhadradis 01 BK-04-09
Series
1972-1997
Part of หนังสือ
เป็นหนังสือประกอบนิทรรศการเรื่อง The Sculpture Of Thailand ใน ค.ศ.1972 ที่นิวยอร์ค หนังสือเล่มนี้มีบรรณาธิการ 3 คน คือ Theodore Bowie, A.B. Griswold และ ศ.หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล มีบทนำเกี่ยวกับสุนทรียภาพพระวรกายของพระพุทธรูปและวิธีการครองจีวรของพระภิก... »
เป็นหนังสือประกอบนิทรรศการเรื่อง The Sculpture Of Thailand ใน ค.ศ.1972 ที่นิวยอร์ค หนังสือเล่มนี้มีบรรณาธิการ 3 คน คือ Theodore Bowie, A.B. Griswold และ ศ.หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล มีบทนำเกี่ยวกับสุนทรียภาพพระวรกายของพระพุทธรูปและวิธีการครองจีวรของพระภิกษุในพุทธศาสนา ส่วนถัดมาเป็นการแนะนำโบราณวัตถุชิ้นเอกที่จัดแสดงในงานนิทรรศการ ซึ่งมีตั้งแต่ศิลปะทวารวดี จนถึงศิลปะรัตนโกสินทร์
“The Sculpture Of Thailand” is the guidebook for the exhibition of Thai sculptures held in New York in 1972. There were 3 editors, viz. Theodore Bowie, A.B. Griswold and Prince Subhadradis Diskul. The introductory essay of the book focuses on the aesthetic trend of ancient Thai art as well as the modes of the monastic robe for Buddhist monks. This is followed by the catalogue of the masterpieces displayed in the exhibition, stating from Dvaravati to Bangkok sculptures.
«
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
บทความ
Add to clipboard
TH Subhadradis 02 ACAR
Fonds
2494 - 2546
ทรงนิพนธ์ ทรงแปลเรียบเรียง ที่จัดพิมพ์ในวารสาร นิตยสาร จุลสาร และหนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
พระนิพนธ์
Add to clipboard
TH Subhadradis 02 ACAR-01
Series
2494-2546
Part of บทความ
บทความที่ ศ.ม.จ. สุภัทรดิศ ดีศกุล ทรงนิพนธ์ จัดพิมพ์ในวารสาร ดังต่อไปนี้
โบราณคดี
เมืองโบราณ
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร
ศิลปวัฒนธรรม
ศิลปากร
สารคดี บทความทรงนิพนธ์ที่จัดพิมพ์ในหนังสือ ดังต่อไปนี้
ศิลปและโบราณคดีในประเทศ ไทย (Art and archaeology in ... » บทความที่ ศ.ม.จ. สุภัทรดิศ ดีศกุล ทรงนิพนธ์ จัดพิมพ์ในวารสาร ดังต่อไปนี้
โบราณคดี
เมืองโบราณ
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร
ศิลปวัฒนธรรม
ศิลปากร
สารคดี บทความทรงนิพนธ์ที่จัดพิมพ์ในหนังสือ ดังต่อไปนี้
ศิลปและโบราณคดีในประเทศ ไทย (Art and archaeology in Thailand)
หอเขียนวังสวนผักกาด
ยอร์ช เซเดส์กับไทยศึกษา (George Coedes and Thai studie)
«
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
การกำหนดอายุศิลปะสมัยสุโขทัย ของ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์
Add to clipboard
TH Subhadradis 02 ACAR-01-001
Item
2529
Part of บทความ
ผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับการกำหนดอายุศิลปะในหนังสือ ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย ฉบับคู่มือนักศึกษา และบทความเรื่องศิลปะแห่งแดนเนรมิต (ศิลปะสุโขทัยระหว่าง พ.ศ.1750-1900 ของ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ที่เป็นการเขียนตามแนวนอน แทนที่จะเขียนตามประวัติของศิลปะแต่ละแบบตา... »
ผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับการกำหนดอายุศิลปะในหนังสือ ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย ฉบับคู่มือนักศึกษา และบทความเรื่องศิลปะแห่งแดนเนรมิต (ศิลปะสุโขทัยระหว่าง พ.ศ.1750-1900 ของ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ที่เป็นการเขียนตามแนวนอน แทนที่จะเขียนตามประวัติของศิลปะแต่ละแบบตามแนวดิ่ง (vertical) โดยเฉพาะการกำหนดอายุศิลปะสมัยสุโขทัยใหม่ ดร.พิริยะ มิได้คำนึงถึงลักษณะร่วมกันเป็นสำคัญ แต่คำนึงถึงสถานที่ค้นพบเป็นสำคัญที่สุด ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับศิลปะสมัยสุโขทัย เช่น วัดศรีสวาย เจดีย์หรือสถูปศิลาแลงในวัดพระพายหลวง ปราสาทที่วัดเจ้าจันทร์ ประติมากรรมที่ค้นพบที่วัดศรีสวายและวัดพระพายหลวง สถูปจำลองสัมฤทธิ์ กลุ่มเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ในวัดมหาธาตุ พระพิมพ์ดินเผา ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 วัดสะพานหิน เมืองศรีสัชนาลัยและเมืองเชลียง พระพุทธรูปปูนปั้นที่วัดช้างล้อม พระพุทธรูปบุเงินที่วัดพระพายหลวง เทวรูปสัมฤทธิ์สมัยสุโขทัย ฯลฯ
«
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล