Art in Thailand : a brief history
- TH Subhadradis 01 BK-01-38-002
- Item
- 1991
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
345 results with digital objects Show results with digital objects
Art in Thailand : a brief history
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Art in Thailand : a brief history
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Art in Thailand : a brief history
Part of หนังสือ
หนังสือเรื่องนี้ได้รับการพิมพ์หลายครั้ง ถือเป็นตำราด้านประวัติศาสตร์ศิลปะไทยที่ใช้ในการสอนระดับมหาวิทยาลัยหลายแห่งและได้รับการอ้างอิงเสมอ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุลทรงใช้ข้อมูลจากหนังสือของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ศาสตราจารย์ ปิแอร์ ดูปองต์ และศาสตราจารย์ ฌ็อง บวสเซอลิเยอร์ในการเรียบเรียง
เนื้อหาหลักของหนังสือเป็นการแนะนำศิลปะในประเทศไทยตามยุคสมัย ตั้งแต่วัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทย (Early Objects discovered in Thailand) ศิลปะทวารวดี (Dvaravati) เทวรูปรุ่นเก่า (Early Hindu Images) ศิลปะศรีวิชัย (Srivijaya) ศิลปะลพบุรี (Lopburi) ศิลปะเชียงแสน (Chiengsaen) ศิลปะสุโขทัย (Sukhothai) ศิลปะอยุธยา (Ayutthaya) และศิลปะรัตนโกสินทร์ (Bangkok)
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
เอกสารประกอบการท่องเที่ยวทัวร์ศิลปวัฒนธรรม เที่ยวเมืองพม่า 12-19 พฤศจิกายน 2536
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
เอกสารประกอบการท่องเที่ยวทัวร์ศิลปวัฒนธรรม เที่ยวเมืองพม่า 12-19 พฤศจิกายน 2536
Part of หนังสือ
ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงเรียบเรียงเอกสารประกอบการท่องเที่ยวเมืองพม่าเพื่อประกอบการนำเที่ยวของบริษัทไวท์ เอเลเฟนท์ ทราเวล เอเจนซี่ จำกัด เมื่อวันที่ 12-19 พฤศจิกายน 2536 โดยทรงอธิบายประวัติศาสตร์พม่า ความสำคัญและตัวอย่างศิลปกรรมในเมืองพุกาม หงสาวดี ร่างกุ้ง อังวะ จักกายหรือสะแคง และมัณฑเลย์
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
หลักการค้นคว้าวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
หลักการค้นคว้าวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
Part of หนังสือ
ในพ.ศ. 2509 คณะโบราณคดีได้ตีพิมพ์วารสาร “โบราณคดี” ฉบับปฐมฤกษ์ โดยได้รวบรวมบทความจากคณาจารย์คณะโบราณคดีหลายท่าน ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งคณบดีในขณะนั้นก็ได้ทรงเขียนบทความเรื่องนี้ลงในวารสารด้วย โดยเนื้อหาหลักของบทความได้แก่การแบ่งหลักฐานทางโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ออกเป็น 3 ประเภท คือ หลักฐานอันดับ 1 ที่สร้างขึ้นหรือแต่งขึ้นร่วมสมัยเหตุการณ์ หลักฐานอันดับ 2 หรือหลักฐานที่สร้างขึ้นหรือแต่งขึ้นเมื่อเหตุการณ์นั้นล่วงไปแล้ว และหลักฐานอันดับ 3 คือ หนังสือที่เขียนขึ้นในปัจจุบัน
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
สมุดคู่มือนำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
สมุดคู่มือนำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Part of หนังสือ
ใน พ.ศ.2505 กรมศิลปากรได้จัดสร้างพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา กรมศิลปากรจึงได้ทูลขอให้ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงเรียบเรียงหนังสือนำชมขึ้นเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในวโรกาสเสด็จฯมาทรงเปิดพิพิธภัณฑ์ ต่อมาได้ทรงเขียนเป็นภาษาอังกฤษในวโรกาสที่สมเด็จพระราชินีนาถแห่งประเทศเดนมาร์คเสด็จฯ มาชมพิพิธภัณฑ์ด้วย
หนังสือเล่มนี้นำชมโบราณวัตถุในตู้จัดแสดงเมื่อ พ.ศ. 2505 (ซึ่งแตกต่างจากการจัดแสดงในปัจจุบัน) นอกจากการเล่าถึงการค้นพบกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะซึ่งเป็นที่มาของการสร้างพิพิธภัณฑ์และพระราชประวัติของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 แล้ว ยังมีการนำชมศิลปกรรมของโบราณวัตถุแต่ละชิ้นทั้งที่ค้นพบในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะและที่นำมาจากแหล่งอื่น
หนังสือเล่มนี้นำชมโบราณวัตถุในตู้จัดแสดงตามการจัดแสดงใน พ.ศ. 2505 (ซึ่งแตกต่างจากการจัดแสดงในปัจจุบัน) นอกจากการเล่าถึงการค้นพบกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะซึ่งเป็นที่มาของการสร้างพิพิธภัณฑ์และพระราชประวัติของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 แล้ว ยังมีการนำชมศิลปกรรมของโบราณวัตถุแต่ละชิ้นทั้งที่ค้นพบในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะและที่นำมาจากแหล่งอื่น
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล