- TH Subhadradis 01 BK-01-01-001
- Item
- 2506
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
39 results with digital objects Show results with digital objects
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง อินเดีย ลังกา ชวา จาม ขอม พม่า ลาว
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
Part of หนังสือ
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
ทับหลังแบบถาลาบริวัตรในประเทศไทย
Part of บทความ
นางมิเรย เบนิสตี (Mireille Benisti) กล่าวถึงทับหลังแบบถาลาบริวัต (Thala Borivat) ว่าเป็นทับหลังที่เก่าแก่ที่สุดของศิลปขอมในราวกลาง พุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งค้นพบทับหลังศิลา 6 ชิ้น ที่ถาลาบริวัต บริเวณฝั่งขวาของแม่โขง และพบที่ปราสาทขตป (Khtop) 2 ชิ้น นางเบนิสตี เห็นว่าทับหลังซึ่งค้นพบที่ถาลาบริวัตเก่ากว่าที่สมโบร์ไพรกุก และถาลาบริวัตอาจเป็นสถานที่ตั้งของเมืองภวปุระของพระเจ้าภรวรมัน สำหรับทับหลัง 2 ชิ้น ซึ่งค้นพบที่ปราสาทขตปนั้น นางเบนิสตีเห็นว่าคงสลักขึ้นในปลายศิลปแบบสมโบร์ไพรกุก ราว พ.ศ. 1200 ในประเทศไทยได้ค้นพบทับหลังแบบถาลาบริวัต 4 ชิ้นที่วัดทองทั่ว จังหวัดจันทบุรี ซึ่งนับว่าเป็นทับหลังขอมแบบถาลาบริวัตอย่างแท้จริง นอกจากนั้น ยังได้ค้นพบศิลาจารึกขอมในพุทธศตวรรษที่ 12 หลักหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงการสร้างศาสนสถานของพระเจ้าอีศานวรมันท ี่1 พร้อมกันนี้ยังมีทับหลังอีกชิ้นหนึ่งซึ่งรักษาอยู่หน้าอุโบสถวัดสุปัฏนาราม จังหวัดอุบลราชธานี อาจกล่าวได้ว่าเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างศิลปขอมแบบ ถาลาบริวัตและสมโบร์ไพรกุก และอาจสลักขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1150.
ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล