อุบลราชธานี

Taxonomy

Code

Scope note(s)

Source note(s)

Display note(s)

Hierarchical terms

อุบลราชธานี

Equivalent terms

อุบลราชธานี

Associated terms

อุบลราชธานี

2 Archival description results for อุบลราชธานี

Only results directly related

The New National Museum at the Town of Ubon Ratchathani, Northeastern, Thailand

The Thai Fine Arts Department has created a national museum in the town of Ubon Ratchathani, Northeastern Thailand. The collection of the museum contains objects, mostly of local origin.
The museum contains six rooms. The first room is the Geography-Geology room of Ubon Ratchathani Province which shows the maps, mineral resources and gems of the province. The second room is the prehistoric room, displaying implements and pottery found in Ubon province. The third room "Dvaravati room", displaying objects pertaining to the Dvaravati period or those from contemporary epochs. The fourth room "Khmer room", displaying Khmer objects. The fifth room contains Buddha images created by Ubon Ratchathani craftsman. The sixth room displays local tradition and objects.
Though this museum is rather small, it is worthwhile visiting because of the many interesting objects displayed in an orderly manner.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ทับหลังแบบถาลาบริวัตรในประเทศไทย

นางมิเรย เบนิสตี (Mireille Benisti) กล่าวถึงทับหลังแบบถาลาบริวัต (Thala Borivat) ว่าเป็นทับหลังที่เก่าแก่ที่สุดของศิลปขอมในราวกลาง พุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งค้นพบทับหลังศิลา 6 ชิ้น ที่ถาลาบริวัต บริเวณฝั่งขวาของแม่โขง และพบที่ปราสาทขตป (Khtop) 2 ชิ้น นางเบนิสตี เห็นว่าทับหลังซึ่งค้นพบที่ถาลาบริวัตเก่ากว่าที่สมโบร์ไพรกุก และถาลาบริวัตอาจเป็นสถานที่ตั้งของเมืองภวปุระของพระเจ้าภรวรมัน สำหรับทับหลัง 2 ชิ้น ซึ่งค้นพบที่ปราสาทขตปนั้น นางเบนิสตีเห็นว่าคงสลักขึ้นในปลายศิลปแบบสมโบร์ไพรกุก ราว พ.ศ. 1200 ในประเทศไทยได้ค้นพบทับหลังแบบถาลาบริวัต 4 ชิ้นที่วัดทองทั่ว จังหวัดจันทบุรี ซึ่งนับว่าเป็นทับหลังขอมแบบถาลาบริวัตอย่างแท้จริง นอกจากนั้น ยังได้ค้นพบศิลาจารึกขอมในพุทธศตวรรษที่ 12 หลักหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงการสร้างศาสนสถานของพระเจ้าอีศานวรมันท ี่1 พร้อมกันนี้ยังมีทับหลังอีกชิ้นหนึ่งซึ่งรักษาอยู่หน้าอุโบสถวัดสุปัฏนาราม จังหวัดอุบลราชธานี อาจกล่าวได้ว่าเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างศิลปขอมแบบ ถาลาบริวัตและสมโบร์ไพรกุก และอาจสลักขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1150.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล