Narratives

Taxonomy

Code

Scope note(s)

Source note(s)

Display note(s)

Hierarchical terms

Narratives

Equivalent terms

Narratives

Associated terms

Narratives

15 Archival description results for Narratives

Only results directly related

Exhibition of Masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968 [part 5]

In commemoration of the 20th Anniversary of the International Council of Museums, the National council of museums of Thailand arranged an exhibition of masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968. Many famous art collectors in Bangkok participated in this exhibition from H.M. the King downwards and it was attended by 77,235 visitors. This volume will discuss Chiengsaen style, U-thong school, Ayutthaya and Rattanakosin periods.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Exhibition of Masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968 [part 4]

In commemoration of the 20th Anniversary of the International Council of Museums, the National council of museums of Thailand arranged an exhibition of masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968. Many famous art collectors in Bangkok participated in this exhibition from H.M. the King downwards and it was attended by 77,235 visitors. Art objects of Sukothai period, regarded as the best period of Thai art, will be described.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The Exhibition of Masterpieces from private collections displayed at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968 [part 3]

In commemoration of the 20th Anniversary of the International Council of Museums, the National council of museums of Thailand arranged an exhibition of masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968. Many famous art collectors in Bangkok participated in this exhibition from H.M. the King downwards and it was attended by 77,235 visitors. Now the objects of the Lopburi style will be described.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The Exhibition of Masterpieces from private collections displayed at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968 [part 2]

In commemoration of the 20th Anniversary of the International Council of Museums, the National council of museums of Thailand arranged an exhibition of masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968. Many famous art collectors in Bangkok participated in this exhibition from H.M. the King downwards and it was attended by 77,235 visitors. Art specimens of the two following periods, the early Hindu images in Thailand and Srivijai will be described in this volume.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

The Exhibition of Masterpieces from private collections displayed at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968 [part 1]

In commemoration of the 20th Anniversary of the International Council of Museums, the National council of museums of Thailand arranged an exhibition of masterpieces from private collections at the Bangkok National Museum from the 6th March-6th April 1968. Many famous art collectors in Bangkok participated in this exhibition from H.M. the King downwards and it was attended by 77,235 visitors. This volume mentions the ancient objects of Indian Amaravati or early Singhalese and of Dvaravati styles.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี--เสด็จไปมหาวิทยาลัย ท่านทรงพกขนมไปด้วย

สัมภาษณ์ ศาสตราจารย์ ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ถึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เกี่ยวกับการเรียนระดับปริญญาโท ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร และพระนิพนธ์หนังสือเรื่อง ชมช่อมาลตี และบุหงารำไป.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM

องค์การหรือสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ มีชื่อย่อว่า ICOM ย่อมาจากคำว่า International Council of Museums ประกอบด้วยสมาชิกจากชนชาติต่าง ๆ หลายชาติ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2489 ICOM เป็นองค์การฝ่ายวิชาการในแผนกพิพิธภัณฑ์ของ Unesco ซึ่งมีกติกา (Constitution) และบทบัญญัติ ( by law) วางไว้เป็นแนวทางปฏิบัติ โดยมีสาระสำคัญคือ เพื่อส่งเสริมและแลกเปลี่ยนความรู้ทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ มีประเทศต่าง ๆ เป็นสมาชิกกว่า 50 ประเทศรวมทั้งประเทศไทย การประชุมของ ICOM ทุกคราวเป็นการรายงานกิจการพิพิธภัณฑ์แห่งประเทศของตน ให้ประเทศที่เป็นสมาชิกทราบ การประชุมแต่ละคราวแบ่งเป็นแผนกต่าง ๆ ผู้แทนประเทศใดจะเข้าประชุมในแผนกที่ตรงกับวิชาและกิจการของตนก็ได้ เมื่อประชุมแผนกเสร็จแล้วถ้าเป็นเรื่องสำคัญก็มักจะมาพูดในการประชุมใหญ่อีกครั้งหนึ่งและมีมติหลังการประชุมทุกคราว.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์

ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งมีบทบาทสำคัญในวิชาโบราณคดี ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทย ได้ถึงแก่กรรมที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2512 สิริรวมอายุได้ 83 ปี ได้เข้ารับราชการในประเทศไทย 13 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2460 – 2472 ประวัติการทำงานของศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้บันทึกไว้ในคำนำหนังสือ โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร จากพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ รวมทั้งการฟังเรื่องราวมาจากศาสตราจารย์หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ และจากประสบการณ์ของหม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

มหิษมรรททินี

การประชุมสภาศึกษาวัฒนธรรมทมิฬระหว่างชาติ ครั้งที่ 2 (Second International Congress of Tamil Studies) ณ เมืองมาดราส ประเทศอินเดีย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-8 ม.ค. 2511 ผู้เขียนได้แสดงปาฐกถาภาษาอังกฤษพร้อมฉายภาพนิ่งประกอบเรื่อง มหิษมรรททินีในประเทศไทย ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปมหิษมรรททินี (Mahisa – marddini) หรือมหิษาสุรมรรทินี (Mahisasuramardini) ที่พบในประเทศไทยรูปนี้ เป็นประติมากรรมศิลาสูงทั้งเดือย 1.60 เมตร ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ลักษณะเป็นภาพสลักนูนสูงรูปพระอุมาหรือนางทุรคา 4 กร ประทับยืนอยู่บนศีรษะควาย กล่าวได้ว่าได้รับแบบมาจากประเทศอินเดีย สมัยราชวงศ์ปัลลวะ (พุทธศตวรรษที่ 12-13) ประติมากรรมแบบนี้จัดว่าเก่าที่สุดที่เคยพบในประเทศไทย.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด

กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต โปรดให้รื้อตำหนักไทยของพระบิดา คือ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต มาปลูกไว้ที่วังสวนผักกาด และทรงเริ่มตกแต่งตำหนักเหล่านั้นด้วยโบราณวัตถุไทยที่พระธิดาได้ทรงรวบรวมไว้แต่ก่อน ต่อมา เสด็จในกรมฯ ได้ประทานวังสวนผักกาดให้เป็นพิพิธภัณฑ์และตั้งชื่อให้ว่า พิพิธภัณฑ์จุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ประกอบด้วยตำหนักไทยหลังแรกทางด้านทิศเหนือมีพระพุทธรูปสำคัญ คือ พระพุทธรูป
คันธารราฐ เทวรูปพระอุมา รูปอรรธนารีศวร (ในบทความใช้ว่ารูปอรรธนารี) ภาพสลักบนไม้ จิตรกรรมบนไม้เรื่องพุทธประวัติสมัยอยุธยา ฯลฯ ตำหนักไทยด้านทิศใต้มีพระพุทธรูปปางลีลาสมัยสุโขทัย เครื่องมุก เครื่องถม พัดรอง ฯลฯ หอเขียนมีภาพลายรดน้ำตั้งอยู่ทางทิศใต้ของบริเวณวัง เรือนไทยทางทิศตะวันตกมีภาพเขียนสมัยปัจจุบันของศิลปินไทย เรือนไทยทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเครื่องสังคโลกสมัยสุโขทัย เครื่องถ้วยชามสมัยลพบุรีและสมัยก่อนประวัติศาสตร์.

ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล

Results 1 to 10 of 15